This website uses cookies to ensure you get the best experience on our website. Learn more

10 Best place to visit in Bembèrèkè Benin

x

10 Best Places to Visit in Benin | Travel Video | Travel Guide | SKY Travel

10 Best Places to Visit in Benin | Travel Video | Travel Guide | SKY Travel
#travelvideo #travelguide #Benin #skytravel

01.Cotonou
02.Ouidah
03.Porto Novo
04.Abomey
05.Grand-Popo
06.Natitingou
07.Bohicon
08.Tanguieta
09.Parakou
10.Lake Nokoue


Benin
Country in West Africa
Benin, a French-speaking West African nation, is a birthplace of the vodun (or “voodoo”) religion and home to the former Dahomey Kingdom from circa 1600–1900. In Abomey, Dahomey's former capital, the Historical Museum occupies two royal palaces with bas-reliefs recounting the kingdom’s past and a throne mounted on human skulls. To the north, Pendjari National Park offers safaris with elephants, hippos and lions. ― Google
x

The Best beaches in Cotonou Benin west africa

Date; 06-02-2021 , 17:30pm
This beach is in APAPA, This is the only free and fun beach. Although other beaches can also be played, the beach is too deep and more the risk.
The sand here is very soft, people like to come here to play, every day after 5 pm, there are many people coming here until the evening.
The people here are very friendly.
x

African Market life in Benin Cotonou | Plus grand marché d’Afrique de l’Ouest - DANTOKPA

#cotonou #Benin #benin
Today we Rae going to visit one of the biggest market and largest trading centers In west Africa ( Dantokpa, Cotonou )

Aujourd’hui nous allons visiter l’un des plus grand marché d’Afrique de l’Ouest, Dantokpa à Côtonou.

WHILE WATCHING , REMEMBER TO PLEASE SUBSCRIBE , LIKE THIS VIDEO , 𝗖𝗢𝗠𝗠𝗘𝗡𝗧 AND


𝗟𝗘𝗧'𝗦 𝗖𝗢𝗡𝗡𝗘𝗖𝗧 𝗢𝗡;

𝗘𝗺𝗮𝗶𝗹: withsephy@gmail.com

𝗬𝗼𝘂𝘁𝘂𝗯𝗲:

𝗙𝗮𝗰𝗲𝗯𝗼𝗼𝗸 :
.
𝗜𝗻𝘀𝘁𝗮𝗴𝗿𝗮𝗺 1:

𝗜𝗻𝘀𝘁𝗮𝗴𝗿𝗮𝗺 2:
sephorafondop?igshid=10hobqirfaipw

𝗧𝘄𝗶𝘁𝘁𝗲𝗿 : :

𝗦𝗻𝗮𝗽𝗰𝗵𝗮𝘁: withsephy

𝗧𝗶𝗸𝘁𝗼𝗸 :

#livinginghana #movingtoghana #westafrica
x

ตะลุยแอฟริกา 20 ประเทศ ตอนที่ 23 cotonou 2 Beach เบนิน และ OKe Beach ชายแดนไนจีเรีย(ประเทศที่ 90)

พัก 1 วัน หลังลุงฟื้นไข้ ตื่นเช้า เตรียมไปชายแดนไนจีเรีย
สาธารณรัฐไนจีเรีย เป็นเพื่อนบ้านทางทิศใต้ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยเบนิน โดยมีหาด Oke ที่ทอดยาวเชื่อมถึงกันสุดเขตเมือง Seme (เซเม) มีแค่ด่านตม.กั้นเขตแดน มีพื้นที่ 923,768 ตร.กม. มีประชากร 175 ล้านคน ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาประจำชาติ มีรายได้ประชาขาติ 5,960 USD ใช้เงิน Naira... NGN มรดกโลก ได้แก่ ซูคูร์ โอซูน เมืองหลวงชื่อ กรุงอาบูจา
ข้อมูลที่ได้จากเน็ต ขึ้นรถที่ Agbangandan ต่อไป 34 กม. ผ่านคาร์ฟู Seme ไปอีก 9 กม. ลูกชายเจ้าของโรงแรมบอกค่ารถไป Agbangandan คนละ 200 เราเดินไปปากซอย มอเตอร์ไซด์รับจ้างคันแรกมาจอด สื่อสารไม่รู้เรื่อง คันที่ 2 มาจอดคุยกันอยู่ครู่ใหญ่
พวกเขาไม่รู้จักหาดนี้ แต่คันที่ 2 บอกว่า ไปกลับคันละ 500 เราบอกว่าไม่ใช่หรอก มันไกลมาก ถ้าไป 2 คันจะให้คันละ 3,000 แต่ถ้าไปคันเดียวให้ 5,000 คันแรกละล้าละลัง คันที่ 2 ตอบตกลง พอเราจะขึ้น คันแรกถามว่า แล้วเขาล่ะ เราบอกว่า เราเอาคันเดียว
ได้คนใจถึง แต่เขาพาเราไปหาดใกล้ๆ มันสวยเหมือนหาดโคโตนู แต่เราต้องการไปชายแดน ไม่ใช่หาดนี้ ถ้าหาดนี้ไป-กลับ 500 แต่ถ้าไป Oke ไป-กลับ 5,000 ฟรัง เขาบอกว่า ขอให้เขาไปถามทางก่อนได้ไหม เราให้เขาดูแผนที่ บอกว่า แค่วิ่งไปตามถนนที่เลียบชายทะเล 34 กม. ก็ถึงแล้ว
เขาใจถึงมาก เอาตามที่เราบอก พอถึงวงเวียนก็หันมาถาม ทำมือตรงไปใช่ไหม พ้นเขตโคโตนู เขาจอดขอเปลี่ยนเสื้อ ถอดเสื้อวินออก ใส่เสื้อแขนยาวอีกตัวทับเสื้อแขนยาวตัวใน ทำเหมือนไม่ใช่วิน
เรามองหาคาร์ฟูร์เซเมไปตลอด เพราะตามแผนที่จะผ่านตรงนี้่ก่อนถึงชายแดนไนจีเรีย แต่ไม่เห็นจนหลุดเข้าไปในเขตชุมชนชายแดน เจ้าถิ่นยืนขวางขอเก็บค่าผ่านทาง เขาจ่ายทันทีด้วยเหรียญไม่เกิน 500 ฟรังค์ (ไม่รู้เท่าไร) เจ้าถิ่นไม่ยอมรามือ ขี่รถล้อมเป็นฝูง เราฟังภาษาฝรั่งเศสไม่รู้เรื่อง พอเข้าใจจากท่าทางว่า จ่ายเงินค่ามาส่งผู้โดยสารแล้วต้องจอด จะไปไหนในเขตชายแดนต้องใช้บริการรถท้องถิ่นเท่านั้น ป้อมที่ด่านตม.อยู่ห่างจากเราราว 50 เมตร ขวามือเป็นทางลงทะเล ป้าบอกว่ากลับรถ ลุงบอกให้ลงไปในซอยขวามือ เพื่อไปชายหาดตรงชายแดนไนจีเรีย
เขาพาเราขี่ลงไปในซอยขวามือ เจ้าถิ่นขี่รถกรูตามเป็นฝูง ป้าบอกกลับไปโคโตนูเดี๋ยวนี้ เขาคุมสติได้ดีมาก แม้จะยังงงๆ แต่ก็ฟังจากเราเท่านั้น เขากลับรถโดยมีเจ้าถิ่นตามประกบดูท่าที ในที่สุดก็หลุดจากการรุมล้อมมาได้
พ้นจากเจ้าถิ่นแล้ว เขาพยายามมองหาทางพาเราลงทะเลจนสำเร็จ หาด Oke ยาวสุดสายตา น้ำทะเลสีครามสวยงาม ถ้าเลียบทะเลไปทางซ้ายเรื่อยๆ จะถึงเมืองลาก๊อส ไนจีเรีย ส่วนทางขวาก็กลับโคโตนู เบนิน
ขากลับ แวะเติมน้ำมัน ผ้าพันคอผืนบางที่ป้าใช้คลุมหน้ากันแดดปลิวไปข้างทาง หญิงเจ้าของร้านค้าข้างล่างขอบถนน ทำท่าจะวิ่งมาเก็บ ป้าไปถึงก่อน เธอจึงถอยกลับ แต่ก็ออกปากขอแล้วขออีก ป้าบอกว่า มีผืนเดียว เธอตะโกนซ้ำๆ
เป็นอีกวันที่ได้เจออะไรที่ตื่นเต้น โดยมีเจ้าของบ้านร่วมแชร์ประสบการณ์ ทางผ่านทุกวงเวียนมีตำรวจ 2 นายนั่งเฝ้า แต่ไม่เห็นว่าจะทำอะไร นั่งคุยกันเฉยๆ
เราผ่านทางแยกไปปอร์โตโนโว เมืองหลวงของเบนินด้วย
ทุกแยกมีเปลือกมะพร้าวและกะลามะพร้าว ทั้งอ่อนและแก่ แสดงว่า คนเมืองหลวงนิยมอาหารที่มาจากมะพร้าว ในขณะที่เมืองอื่นนิยมอะโวคาโด้ มีขายทุกที่ ริมถนน ท่ารถ ตามตรอก ซอก ซอย เหมือนว่าเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้
ในที่สุดมอเตอร์ไซด์รับจ้าง พาเราถึงที่พักโดยปลอดภัย แวะซื้ออาหาร แล้วเข้าที่พัก
x

Tata Somba - Benin

The distinctive house construction style called the Tata Somba from the Betamaribé people. These ones found near Natitingou, Benin. 2005.

More pics here:
Travalblog:

The Somba people, also called Ditamari, are an African ethnic group found primarily in northwestern Benin and northern Togo. The name is a generic term for the Betammaribe and related peoples, who make up about 8% of Benin’s population. Their language is the “Ditammari language”, also known as Tamberma, and it is a northern branch of the Niger-Congo family of languages.

The Somba people are known for their traditional body scarring rituals, starting between the age of two and three. These special marks are a form of lifelong identification marks (tattoo ID), which identify a person as belonging to one’s tribe as well as more coded personal information. Additional marks are added at puberty, readiness for marriage, post-child birth as a form of visible communication. These scars range from some on the face, to belly and back.

They are regionally famous for their distinctive house construction style called the Tata Somba. It consists of a ground floor which houses a kitchen and livestock owned by the family, the upper floor or roof designed to dry grains and to sleep.These castle-shaped houses also integrated their traditional spiritual beliefs, and their aim to protect themselves and animal life from natural and supernatural dangers. These homes may have developed as a means to resist night raids during the era when slave hunters in West Africa roamed to kidnap their victims for sale.

The castle-style homes of the Somba people are known as Takienta in the Koutammakou region of Togo. The uniqueness and sophistication of this architecture has been recognized since 2004 by UNESCO as a world heritage site, with the statement, “Koutammakou is an outstanding example of territorial occupation by a people in constant search of harmony between man and the surrounding nature”.The residences of the Somba people have become an attraction in the fledgling tourist industry of Benin and Togo.

They are especially found in towns such as Nikki and Kandi that were once Bariba kingdoms and in Parakou in mid-eastern Benin. However, there is also a significant population of Somba in northwest Benin in the Atacora region in cities such as Natitingou and a number of villages. Many Somba in the northwest have migrated to the east. In Parakou the Guema market was founded by a Somba tribe who migrated from Atacora, and it specializes in beef and pork and local millet beer known as choukachou.

Shares

x

Check Also

x

Menu